cclickthailand
-1
archive,paged,author,author-cclickthailand,author-2,paged-30,author-paged-30,bridge-core-2.1.7,ajax_fade,page_not_loaded,,qode-title-hidden,qode_grid_1300,footer_responsive_adv,qode-child-theme-ver-1.0.0,qode-theme-ver-20.4,qode-theme-bridge,qode_header_in_grid,wpb-js-composer js-comp-ver-6.1,vc_responsive

มีดุลพินิจในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว รู้จักปกป้องข้อมูลความส่วนตัวในโลกออนไลน์โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อป้องกันความเป็นส่วนตัวทั้งของตนเองและผู้อื่น รู้เท่าทันภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต เช่น มัลแวร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์  อ่านฉบับเต็มได้ที่: คลิ๊กเพื่ออ่านเพิ่มเติม #DQ #MIDL ...

กิจกรรมของภาคีเครือข่ายจากหลายภูมิภาคทั่วประเทศไทยเข้าร่วมเดินทางในโครงการ MIDL for Inclusive Cities 10 กิจกรรมที่มาร่วมขยับ สร้างเมืองให้เป็น “เมืองของทุกคน”  start! 1. พลเมือง ขยับ (นคร) สกล @สกลนคร โดย: ม.ราชภัฏสกลนคร :::พบกับกิจกรรม:::  - ค่ายปฏิบัติการณ์นักข่าวพลเมือง Creative Learning Space การสื่อสาร(อนาคต)สกล: นครในมุมมองของเรา (12 – 14 ต.ค.) - เมือง “สกล(นคร)ที่เราออกแบบได้” ณ ห้องเรียนสถาปัตย์ - “Timeline เมืองสกล เราจะไปทางไหนกันดี” (31 ต.ค.) 2. เมืองใจกว้าง MIDL CITY @ปัตตานี สงขลา หาดใหญ่ โดย มอ.ปัตตานี – ม.ทักษิณ – กลุ่มปันรัก – กลุ่มมานีมานะ :::พบกับกิจกรรม::: - เมืองปัตตานีใจกว้าง :...

หลายครั้งที่เราคุ้นชินกับภาพการนำเสนอตัวละครต่าง ๆ ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะจนเกิดเป็นภาพจำ . . การผลิตซ้ำอัตลักษณ์ผ่านตัวละครส่งผลอย่างไรต่อสังคม? . . และเราจะสร้างและเสพสื่ออย่างไร? ให้อยู่บนฐานของความเข้าใจและการยอมรับอัตลักษณ์ที่หลากหลาย   ...

การรังแกกันบนโลกออนไลน์ (Cyberbullying) พฤติกรรมใดบ้างที่เรียกว่าเป็น cyberbullying ?? เมื่อถูก cyberbullying แล้วมันเจ็บแค่ไหน ?? . . จะหาทางออกให้ตัวเองได้อย่างไรเมื่อถูก cyberbullying ?? เด็กวัยรุ่นและผู้ใหญ่จะช่วยกันดูแลไม่ให้เกิด cyberbullying ได้อย่างไรบ้าง?? . . Infographic ที่จะช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเหล่านี้ อ่านผลการศึกษาวิจัยจากรายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาความรุนแรงทางโซเชียลมีเดียและการรับรู้ของวัยรุ่น ปี 2560 จัดทำโดย อ.อัปสร เสถียรทิพย์ และคณะ โดยการสนับสนุนของสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.) ได้ที่ http://cclickthailand.com/…/งานศึกษาความรุนแรงในโซเชียลฯ.pdf ...

นิทานภาพ เรื่อง: กระต่ายน้อยไม่ตื่นตูม / เรื่องและภาพโดย: พาณี อิทธิบำรุงรักษ์ กระต่ายน้อยพึ่งรู้จักสื่อจอใสเป็นครั้งแรก เมื่อคุณแม่เลือกหานิทานแล้วนั่งดูด้วยกัน แต่กลับมีโฆษณาที่เร้าใจเข้ามาแทรกเป็นระยะๆ ทำให้กระต่ายน้อยอยากได้สินค้าตามโฆษณา คุณแม่จะมีวิธีอธิบายให้กระต่ายน้อยเข้าใจและรู้ทันได้อย่างไร มาติดตามกัน Download เรื่อง: หมาป่ากับลูกแกะ / เรื่องและภาพโดย: โอม รัชเวทย์ แม้แต่ในป่าใหญ่ สื่อออนไลน์ก็ยังเป็นที่นิยมของบรรดาสัตว์ทั้งหลาย เมื่อหมาป่าเกเรมาเจอลูกแกะเข้า และอยากกินลูกแกะ จึงคิดหาอุบายต่างๆนานา โดยใช้สื่อออนไลน์ ทั้งการตกแต่งภาพ การปลอมโพสต์ด่าว่า ฯลฯ ลูกแกะจะสามารถเอาตัวรอดได้หรือไม่  ติดตามความฉลาดรู้ทันสื่อของลูกแกะและเพื่อนสัตว์ในป่าจากเล่มนี้ Download เรื่อง: หนูมาลีกับสีฝุ่น / เรื่องและภาพโดย: สุดใจ พรหมเกิด,สมบัติ คิ้วฮก สีฝุ่นเป็นแมวที่มีความสุขมาก เพราะได้เล่นกับหนูมาลีทุกวัน แต่แล้ววันหนึ่งเมื่อหนูมาลีได้ของชิ้นใหม่เป็นจอใสใส ตั้งแต่นั้นเป็นมา หนูมาลีก็ไม่เล่น ไม่ให้ข้าวให้น้ำแก่สีฝุ่นอีกเลย ชีวิตของสีฝุ่นจะเป็นอย่างไรหนอ อยากรู้จัง Download การ์ตูน เรื่อง: ดีลีท / เรื่องและภาพโดย: สละ นาคบำรุง โทรศัพท์มือถือของน้องตาลตกแตกจนพัง  เพราะความตกใจเสียงเพื่อน ๆ  น้องตาลจึงหาทางแกล้งเพื่อนเพื่อเอาคืน  โดยถ่ายภาพที่ไม่เหมาะสมของเพื่อนๆ และโพสต์ลงในสื่อออนไลน์ สร้างความวุ่นวายให้กับทุกคนในโรงเรียน แม้ว่าน้องตาลจะดีลีทภาพทุกภาพ และเข้าใจว่าภาพจะหายไปแล้วก็ตาม แต่เหตุการณ์กลับไม่เป็นเช่นนั้น...

เล่นลม ล้อคลื่น กลางสึนามิสื่อ ดีจัง ฉบับเท่าทันสื่อ ชวนทุกคนมาเรียนรู้แง่มุมหลากหลายของการใช้ชีวิตที่อยู่กับกระแสสื่อ...

วันนี้ สสย. จะพาทุกท่านมารู้จักกับวิธีการสร้างสมดุลชีวิตทางดิจิทัลในกับเด็ก ๆ พร้อมชวนคิดต่อถึงบทบาทของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการดูแลให้เขาสามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างไม่เป็นพิษกับวัยของเขา  ข้อมูลจากหนังสือ “MIDL for Kids” การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัลสำหรับเด็กปฐมวัย  เขียนและเรียบเรียงโดย ถิรนันท์ อนวัชรศิริวงศ์ และ พิรุณ อนวัชรศิริวงศ์จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชนอ่านเพิ่มเติมและดาวน์โหลดได้ที่: https://goo.gl/9fLT9S ...

การเอาใจเขามาใส่ใจเรานั้นเป็นกระบวนการเรียนรู้ภายในจิตใจของแต่ละคน ต้องใช้ความเข้าใจในอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่นราวกับได้ไปยืนในจุดที่เขาเป็นอยู่จริง . . การฝึกฝนให้เด็กได้รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเรานั้นจึงไม่ใช่เพียง “การท่องจำ” แต่เป็น “การสร้างประสบการณ์” ที่ต้องใช้ระยะเวลา The UK Safer Internet Center ได้แนะนำวิธีการสร้างทักษะการเอาใจ เขามาใส่ใจเราทางดิจิทัลให้แก่เด็ก 4 ข้อ ดังนี้ ที่มา: ทักษะการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล (Digital Empathy) เขียนและเรียบเรียงโดย ดร.สรานนท์ อินทนนท์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.) ...

อ่านความรู้เพิ่มเติมและดาวน์โหลดเอกสารได้ที่: https://bit.ly/2T9yCit #cyberbullying #รู้เท่าทันสื่อ ...