Posted at 08:47h
in
วีดีโอ
by cclickthailand
https://youtu.be/hr5OyukyW2M
ชุดนิทานรู้เท่าทันสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง: ฐิติกมล วทัญญุตานนท์
ภาพ: Sawanee Draw
มีเด็ก ๆ คนไหน เป็นเหมือนเจ้าเม่นน้อยไหมนะ???
เรื่องราวของเจ้าเม่นน้อยตัวกลม ที่หลงเข้าไปในโลกของโทรศัพท์มือถือ จนลืมเวลา ...
Posted at 08:42h
in
วีดีโอ
by cclickthailand
https://youtu.be/GafmjlZjAqA
ชุดนิทานรู้เท่าทันสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง: อัปสร เสถียรทิพย์, เข็มพร วิรุณราพันธ์
ภาพ: ปรีดา ปัญญาจันทร์
เอ๊.. เด็ก ๆ รู้จักนกกะปูดตาแดงกันรึเปล่า แต่ถ้าโลกนี้ไม่ได้มีแค่นกกะปูดที่มีตาสีแดง แต่นกตัวอื่นก็เป็นไปด้วย มันเกิดจากอะไรกันนะ??
นิทานคำกลอนบอกเล่าเรื่องราวความขี้สงสัยของเจ้านกกะปูดตาแดง เมื่อเพื่อน ๆ ชาวนกต่างก็ก้มหน้าก้มตาเล่นโทรศัพท์กันจนตากลายเป็นสีแดง แล้วเจ้านกกะปูดจะช่วยเหล่าเพื่อนพ้องได้ไหมละนี่...
Posted at 08:26h
in
วีดีโอ
by cclickthailand
https://youtu.be/XrKOF6ulLlM
ชุดนิทานรู้เท่าทันสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง: ดร.แพง ชินพงศ์
ภาพ: ชาญศิลป์ กิตติโชติพาณิชย์
มีเด็ก ๆ คนไหน หลงเชื่อโฆษณาง่าย ๆ บ้างไหมนะ?
เรื่องราวของเด็กสามคนกับโฆษณาทอฟฟี่มหัศจรรย์...
Posted at 08:22h
in
วีดีโอ
by cclickthailand
https://youtu.be/1xeYdb8ajLQ
ชุดนิทานรู้เท่าทันสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง: รักษิตา
ภาพ: วชิราวรรณ ทับเสือ, กฤษณะ กาญจนาภา
====================================
สามารถดาวน์โหลดหนังสือนิทานทั้ง 6 เรื่องจากลิงก์นี้ได้เลยค่ะ https://bit.ly/2RLDZH1
...
เพลงชุด เด็กปฐมวัยเท่าทันสื่อดิจิทัล สำหรับเด็กช่วงอายุ 3-6 ขวบ เสริมสร้างทักษะการรู้เท่าทันสื่อให้กับเด็กด้วยเพลงและท่าเต้นง่าย ๆ
เนื้อร้อง/ทำนอง : ดร.แพง ชินพงศ์
เพลง หยุดคิดถาม
https://youtu.be/2YOg9d2_qx8
เพลง อย่าเล่นนานๆ
https://youtu.be/iCdpEf263VA
เพลง ออกไปเล่น
https://youtu.be/Ui7pynhwKNQ
เพลง ออกไปเล่นสำหรับคุณครู
https://youtu.be/Yk8XZgRkDVI
...
Posted at 09:54h
in
งานวิจัย
by cclickthailand
ผู้เขียน: ดร.อุษา บิ้กกิ้นส์
Download
...
ชุดนิทานภาพ “เด็กปฐมวัยรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล” เข้าใจ เท่าทัน ประยุกต์ใช้ 6 เรื่อง สำหรับเด็กเล็กวัย 3-6 ปี ที่จะชวนมาเปิดมุมมองการใช้ชีวิตอย่างสมดุลในยุคดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการใช้เวลากับสื่ออย่างเหมาะสม การรักษาความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง การรู้เท่าทันและการใช้ข้อมูลข่าวสารในสื่อ ฯลฯ ที่พ่อแม่ คุณครูปฐมวัย หรือผู้ใหญ่ในบ้านสามารถชวนเด็ก ๆ มาเรียนรู้ทักษะการรู้เท่าทันสื่อร่วมกันผ่านนิทานภาพชุดนี้
ทอฟฟี่มหัศจรรย์
เรื่อง: ดร.แพง ชินพงศ์ภาพ: ชาญศิลป์ กิตติโชติพาณิชย์
คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลด
นกกะปูดตาแดง
เรื่อง: อัปสร เสถียรทิพย์ เข็มพร วิรุณราพันธ์ภาพ: ปรีดา ปัญญาจันทร์
คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลด
ของใหม่กับเพื่อนเก่า
เรื่อง: รักษิตาภาพ: วชิราวรรณ ทับเสือ กฤษณะ กาญจนาภา
คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลด
เม่นน้อยหลงทาง
เรื่อง: ฐิติกมล วทัญญุตานนท์ภาพ: Sawanee Draw
คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลด
นางฟ้าน้อยกับแม่มดจิ๋ว
เรื่อง: ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ภาพ: พัดชา ดิษยนันทน์
คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลด
อลิซในวันมหัศจรรย์
เรื่อง: สรานนท์ อินทนนท์ภาพ:...
>> ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข่าว>> วิเคราะห์จุดประสงค์ในการนำเสนอข่าว>> แยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น>> รับข่าวสารโดยไม่ใช้อคติ>> ตรวจสอบข่าวปลอมที่มักเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต
#MIDL
...
แม้ว่าปัญหาข่าวปลอมจะได้รับการดูแลและจัดการจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคกฎหมายและนโยบายการป้องกันจากหลายภาคส่วน แต่สิ่งที่น่ากังวลคือความไม่รู้เท่าทันข่าวสารของตัวผู้ใช้งานเองที่ตกหลุมพรางของผู้สร้างข่าวปลอม ดังนั้น ผู้รับข่าวสารเองควรมีทักษะในการรู้เท่าทันสื่อและรับมือกับข่าวปลอม 13 ทักษะสำคัญ คือ
>> 1. ตรวจสอบวันที่ ว่าข่าวปลอมนั้นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือไม่.>> 2. ตรวจสอบหลักฐาน แหล่งข้อมูลของผู้เขียน และการอ้างอิงจากผู้เชี่ยวชาญ.>> 3. สังเกตสิ่งผิดปกติ เช่น การสะกดคำผิด การจัดวางรูปแบบที่ดูไม่เป็นมืออาชีพเสียเท่าไหร่.>> 4. อย่าหลงเชื่อหัวข้อข่าว โดยเฉพาะพาดหัวข่าวที่สะดุดตา ใช้ตัวหนา เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) หรือการพาดหัวข่าวแบบหวือหวา.>> 5. พิจารณารูปภาพ ข่าวปลอมมักใช้ภาพหรือวีดีโอตัดต่อ บิดเบือน หรือบางครั้งใช้ภาพประกอบที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์.>> 6. ข่าวนั้นเป็นมุกตลกหรือไม่ เราต้องแยกให้ออกระหว่างข่าวปลอมกับมุกตลก มุกตลกล้อเลียนเสียดสีจะมีน้ำเสียงการเล่าเพื่อความสนุกสนาน.>> 7. ตรวจสอบข้อมูลสนับสนุน เช่น ข้อมูลประกอบบทความ ความสมเหตุสมผล และเนื้อหาการนำเสนอที่อาจถูกหยิบยกมาเพียงบางส่วน.>> 8. ตรวจสอบแหล่งข่าว...
สถานการณ์วิกฤต อย่างการระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบัน ทำให้โลกออนไลน์มีการแชร์ข้อมูลกันอย่างเร่งรีบ และในบางครั้งเราตกลงปลงใจเชื่อข้อมูลข่าวปลอมนั้นโดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะข้อมูลที่ถูกระบุว่าเป็นข่าวหรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สำคัญ ๆ
วันนี้ สสย. จะพาทุกท่านมาดูเหตุผลกันว่า ทำไมคนเราถึงหลงเชื่อข้อมูลข่าวปลอม ซึ่งสาเหตุหลัก ๆ น่าจะหนีไม่พ้น ...