รู้ทันคำโตๆของโฆษณา ตอน น้ำบวกลม (ตอนที่ 1)
16977
post-template-default,single,single-post,postid-16977,single-format-standard,bridge-core-2.1.7,ajax_fade,page_not_loaded,,qode-title-hidden,qode_grid_1300,footer_responsive_adv,qode-child-theme-ver-1.0.0,qode-theme-ver-20.4,qode-theme-bridge,qode_header_in_grid,wpb-js-composer js-comp-ver-6.1,vc_responsive

รู้ทันคำโตๆของโฆษณา ตอน น้ำบวกลม (ตอนที่ 1)

น้ำใส่ลม? 

น้ำอัดลม เข้ามาในประเทศไทยนานมากแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 เป็นเครื่องดื่มที่มีน้ำ น้ำตาล

สารให้ความหวานส่วนผสมของสารที่ให้กลิ่นและสี และกรดคาร์บอนิก เป็นส่วนประกอบ มีทั้งประเภทเติมคาเฟอีน เช่น โคล่า ชนิดที่ใช้น้ำตาลเป็นสารให้ความหวาน และชนิดที่ใช้สารทดแทนความหวาน เช่น แอสปาเทม และประเภทไม่มีคาเฟอีน เป็นน้ำอัดลมที่เติมหัวเชื้อกลิ่นน้ำผลไม้ต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเคราะห์

กลยุทธ์การตลาด

  1. โฆษณาโดยใช้ดาราเป็นพรีเซนเตอร์ สร้างบรรยากาศสนุกสนาน 
  2. น้ำอัดลมขวดละ 10 บาท จะมีค่าโฆษณาเฉลี่ย 3 บาท 
  3. สร้างแบนด์ให้เกิดการจดจำ ทั้งโฆษณาที่โต๊ะและป้ายในร้านอาหาร แจกของพร้อมติดโลโก้ เพื่อให้จดจำ
  4. ชิงโชค สะสมแลกของ เพื่อกระตุ้นยอดขาย
  5. สร้างค่านิยมความทันสมัยไม่ดื่มไม่ทันสมัย

อ้างอิงข้อมูล 

– รายการใจดีสู้สื่อ ตอน น้ำอัดลม โดย สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน

– เบื้องหลังขบวนการ 3 กำลังสูง,นิตยสารฉลาดซื้อ ฉบับที่ 146 ,บทสัมภาษณ์ นงนุช ใจชื่นนักวิจัย แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข

– รายการ Fat Fact ความจริงรอบพุง โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

No Comments

Post A Comment